วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2558
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยหลักการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สัญญาณทางไฟฟ้าแทนตัวเลข0และ1
อาชาญากรรมเเละอาชากรคอมพิวเตอร์
การใช้คอมพิวเตอร์ในฐานะเป็ฯเครื่องมือในการก่ออาชญากรรม เช่น
1. การขโมยเลขบัตรเครดิต
2.การเเอบอ้าง ใช้ข้อมูลส่วนตัวของบุคคลอื่นในการเเอบอ้างเป็นบุคคลนั้น
3.การกราดตรวจทางคอมพิวเตอร์ คือ ใช้คอมพิวเตอร์ในการหลอกลวงผู้อื่น
คอมพิวเตอร์ในฐานะของเป้าหมายอาชญากรรม เช่น
1.การเข้าถึงเเละการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่น การขโมยรหัสส่วนตัวเพื่อก่อให้เกิดความเสียหายเเก่บุคคลหรือองค์การ
2. การก่อกวนหรือทำงายข้อมูล เเทรกเเซง การทำงานของฮาร์ดเเวร์ เเละซอฟเเวร์ ได้เเก่ ไวรัส การทำให้ระบบปฏิเสธการให้บริการ เเละข่าวหลอกลวง
1. การขโมยเลขบัตรเครดิต
2.การเเอบอ้าง ใช้ข้อมูลส่วนตัวของบุคคลอื่นในการเเอบอ้างเป็นบุคคลนั้น
3.การกราดตรวจทางคอมพิวเตอร์ คือ ใช้คอมพิวเตอร์ในการหลอกลวงผู้อื่น
คอมพิวเตอร์ในฐานะของเป้าหมายอาชญากรรม เช่น
1.การเข้าถึงเเละการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่น การขโมยรหัสส่วนตัวเพื่อก่อให้เกิดความเสียหายเเก่บุคคลหรือองค์การ
2. การก่อกวนหรือทำงายข้อมูล เเทรกเเซง การทำงานของฮาร์ดเเวร์ เเละซอฟเเวร์ ได้เเก่ ไวรัส การทำให้ระบบปฏิเสธการให้บริการ เเละข่าวหลอกลวง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจุบันพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้เปลี่ยนเเปลงอย่างรวดเร็วตามยุคสมัย มีการนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยขน์มากมายทั้วโลก
1. กฎหมายข้อมูลคุมครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัวจากการนำข้อมูลไปใช้ในทางมิชอบ
2. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อคุ้มครองสังคมจากความผิดที่เกี่ยวกับข้อมูลสารอันถือเป็ฯทรัพย์สินที่ไม่มีรูปร่าง
3.กฎหมายโทรคมนาคม เพื่อวางกลไกลในการเปิดเสรีให้มีการเเข่งขันที่มีประสิทธิภาพ
4.กฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศเเละการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.กฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์
ความหมายของจริยธรรม
จริยธรรม มีหลายความหมายเช่น หลักของศีลธรรมในเเต่ละวิชาชีพเฉพาะ
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อความรำคาญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเลิดลิขสิทธิ์ซอฟต์เเวร์
กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
1. ความเป็นส่วนตัว คือ การเก็บรวบรวม การเก็บรักษา เเละการเผยเเพร่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล
2. ความถูกต้อง คือ ความถูกต้องเเม่นยำของการเก็บรวบรวมเเละวิธีการปฏิบัติกับข้อมูลสารสนเทศ
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง สิทธิความเป็นเจ้าของของหรือในการถือครองทรัพย์สิน อาจเป็นทรัพย์สินที่จับได้ต้องได้
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อความรำคาญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเลิดลิขสิทธิ์ซอฟต์เเวร์
กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
1. ความเป็นส่วนตัว คือ การเก็บรวบรวม การเก็บรักษา เเละการเผยเเพร่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล
2. ความถูกต้อง คือ ความถูกต้องเเม่นยำของการเก็บรวบรวมเเละวิธีการปฏิบัติกับข้อมูลสารสนเทศ
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง สิทธิความเป็นเจ้าของของหรือในการถือครองทรัพย์สิน อาจเป็นทรัพย์สินที่จับได้ต้องได้
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจนสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมาก นับได้ว่าเป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือยุคข้อมูลข่าวสาร ซึ่งก่อให้เกิดประโยขน์ต่อมวณมนุษย์มหาศาล
ผลกระทบในทางบวก
1.ช่วยส่งเสริมความสะดวกสะบายของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยทำให้มนุษย์มีชีวิตความเป็ยอยู่ที่ดีขึ้น ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน
2.ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น ระบบการผลิตสินค้าในปัจจจุบันเป็นระบบที่ต้องการผลิตสินค้าเป็นจำนวนมาก มีคุณภาพมาตรฐาน การผลิตในสมัยปัจจุบันใช้เครื่องจักทำงานอย่างอัตโนมัติ
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าให้มีความสะดวกและประสิทภาพขึ้น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานที่ซับซ่อน
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพขึ้น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น
4.ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้กิจการทางด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก ปัจจุบันเครื่องมือทางการแพทย์ช่วยในการดำเนินการ
5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์มีจุดเด่นที่ทำให้การทำงานต่างๆ รวดเร็วมีความเเม่นยำ เเละสามารถทำงานเสร็จในเวาลาไม่นาน เพื่อให้มนุษย์หาทางศึกษาเเก้ปัญหาเช่น การจำลองสภาวะของสิ่งเเวดล้อมเป็นต้น
6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง การใช้เทคนโลยีเป็นเรื่องที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมเป็นต้น ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจธุระกิจอาศัยการเเลกเปลียนข้อมูลทางอีเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน เกิดระบบการสับเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์
7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน สังคมโลกไร้พรมเเดน มีการเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันเเละกันมาขึ้น เกิดความเข้าใจซึ่งกันเเละกันได้ดี ทำให้ลดปัญหาในเรื่องขัดเเย้ง
8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ลในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้เเทนราษฎรทุกครั้ง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจายข่วสาร เพื่อให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญของระบบประชาธิปไตยเเม้เเต่การเลือกตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผลคะเเนน ใช้สื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
ผลกระทบในทางลบ
1. ทำให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหนทางในการก่ออาชญากรรมได้โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการวงเเผนปล้น มีการลักรอบใช้ข้อมูลข่าาวสาร เเก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปเเก้ไข
2. ทำให้ความสำพันธืขิงมนุษย์เสื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์เเละการสื่อสารทำให้สามารถติดต่อสื่อสารได้โดยไม่ต้องเห็นตัว ทำให้ความสำพันธ์กับผู้อื่นลดลง
3.ทำให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคล มีระบบการผลิตที่อัตโนมัติมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้เเรงงานอาจตกงาน
4. ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางธุระกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุระกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูลเช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า เป็นต้น
5. ทำให้มีการพัฒนาอาวุธ ที่มีอำนาจทำลายสูง ประเทสที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีสามารถนำเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาคการทำลายสูง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามเเละการสูญเสียมากขึ้น
6. ทำให้เกิเเพร่วัฒนธรรมเเละกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว
ผลกระทบในทางบวก
1.ช่วยส่งเสริมความสะดวกสะบายของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยทำให้มนุษย์มีชีวิตความเป็ยอยู่ที่ดีขึ้น ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน
2.ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น ระบบการผลิตสินค้าในปัจจจุบันเป็นระบบที่ต้องการผลิตสินค้าเป็นจำนวนมาก มีคุณภาพมาตรฐาน การผลิตในสมัยปัจจุบันใช้เครื่องจักทำงานอย่างอัตโนมัติ
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าให้มีความสะดวกและประสิทภาพขึ้น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานที่ซับซ่อน
3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพขึ้น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น
4.ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้กิจการทางด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก ปัจจุบันเครื่องมือทางการแพทย์ช่วยในการดำเนินการ
5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์มีจุดเด่นที่ทำให้การทำงานต่างๆ รวดเร็วมีความเเม่นยำ เเละสามารถทำงานเสร็จในเวาลาไม่นาน เพื่อให้มนุษย์หาทางศึกษาเเก้ปัญหาเช่น การจำลองสภาวะของสิ่งเเวดล้อมเป็นต้น
6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง การใช้เทคนโลยีเป็นเรื่องที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมเป็นต้น ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจธุระกิจอาศัยการเเลกเปลียนข้อมูลทางอีเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน เกิดระบบการสับเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์
7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน สังคมโลกไร้พรมเเดน มีการเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันเเละกันมาขึ้น เกิดความเข้าใจซึ่งกันเเละกันได้ดี ทำให้ลดปัญหาในเรื่องขัดเเย้ง
8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ลในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้เเทนราษฎรทุกครั้ง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจายข่วสาร เพื่อให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญของระบบประชาธิปไตยเเม้เเต่การเลือกตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผลคะเเนน ใช้สื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
ผลกระทบในทางลบ
1. ทำให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหนทางในการก่ออาชญากรรมได้โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการวงเเผนปล้น มีการลักรอบใช้ข้อมูลข่าาวสาร เเก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปเเก้ไข
2. ทำให้ความสำพันธืขิงมนุษย์เสื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์เเละการสื่อสารทำให้สามารถติดต่อสื่อสารได้โดยไม่ต้องเห็นตัว ทำให้ความสำพันธ์กับผู้อื่นลดลง
3.ทำให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคล มีระบบการผลิตที่อัตโนมัติมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้เเรงงานอาจตกงาน
4. ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางธุระกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุระกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูลเช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า เป็นต้น
5. ทำให้มีการพัฒนาอาวุธ ที่มีอำนาจทำลายสูง ประเทสที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีสามารถนำเทคโนโลยีมาช่วยในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาคการทำลายสูง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามเเละการสูญเสียมากขึ้น
6. ทำให้เกิเเพร่วัฒนธรรมเเละกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง
แนงโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้หารหระจายข้อมูลข่าวสารดเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุนี้
1.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคอมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศสภาพของสังคมโลกเปลี่ยนแปลงมาแล้ว2ครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบแร่ร่อนมาเป็นสังเกษตรที่มีการเพาะปลูกและผลิตผลทางการเกษตร จึงต้องมาผลิตแบบอุตสาหกรรมทำให้สภาพเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมเมือง
2.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น การดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศหรือวิทยุ เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศน์หรือวิทยู ไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้หากไม่พอใจก็ทำได้แค่เลือกสถานีใหม่
3.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลาเมื่อการสื่อสารกล่าวหน้าและแพร่หลายขึ้น การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทำให้มีปฏิสัมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลัษณะดำเนินงานเหล่านี้ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกทีทุกเวลา
4.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็นเศษฐกิจโลกระบบเศษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศก็กระจายเป็นเศษฐกิจโลก
5.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูพัน หน่วยงานภายในเป็นแแบบเครือข่ายมากขึ้น แต่เดิมการองค์กรจัดเป็นลำดับขึ้น มีสานการจากบั
คับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น
6.เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการการระยะยาวขึ้น อีกทั้งทำให้วิธีการตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางเลือกให้น้อย
7.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการเปลี่ยยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศษฐกิจและการเมื่องอย่างมาก
1.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคอมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศสภาพของสังคมโลกเปลี่ยนแปลงมาแล้ว2ครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบแร่ร่อนมาเป็นสังเกษตรที่มีการเพาะปลูกและผลิตผลทางการเกษตร จึงต้องมาผลิตแบบอุตสาหกรรมทำให้สภาพเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมเมือง
2.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น การดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศหรือวิทยุ เมื่อเปิดเครื่องรับโทรทัศน์หรือวิทยู ไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้หากไม่พอใจก็ทำได้แค่เลือกสถานีใหม่
3.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลาเมื่อการสื่อสารกล่าวหน้าและแพร่หลายขึ้น การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทำให้มีปฏิสัมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลัษณะดำเนินงานเหล่านี้ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกทีทุกเวลา
4.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็นเศษฐกิจโลกระบบเศษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศก็กระจายเป็นเศษฐกิจโลก
5.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูพัน หน่วยงานภายในเป็นแแบบเครือข่ายมากขึ้น แต่เดิมการองค์กรจัดเป็นลำดับขึ้น มีสานการจากบั
คับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น
6.เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการการระยะยาวขึ้น อีกทั้งทำให้วิธีการตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางเลือกให้น้อย
7.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการเปลี่ยยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศษฐกิจและการเมื่องอย่างมาก
การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีการแพร่ขยายอย่างรวดเร็ว จนมีความสามารถในการใช้งานเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็มีคาราถูกลง ผลของการพัฒนานี้ทำให้มีการประยุกต์ใช้งานกันอย่างกว้างขวาง
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในอดีตประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศเกษตรกรรม มีผลผลิตทางด้านการเกษตรเป้นสินค้าหลัก ต่อมามีการเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตเป็นประเทศอุตสาหกรรม
หากพิจารณาการใช้งานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารทั่วไปของโลก ปัจจุบันมูลค่าของสินค้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว สิ่งที่หน้าสนใจคือพัฒนาแล้ว10ประเทศได้แก่สหรัฐอเมริกา สิงค์โปร ฟินแลนด์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ไอซ์แลนด์
สวีแดน แคนนาดา และสวิตเซอร์แลนด์
ถ้าพิจารณาบริษัทผู้ผลิตสินค้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศพบว่า ประเทศผู้ผลิตเพื่อส่งออกมีเพียงแค่ไม่กี่ประเทศทั่วโลก
ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และเครื่องมือสื่อสาร ทำให้อุปกรณ์ต่างๆมีขนาดเล็กลงแต่มีความสามรเพิ่มขึ้น และมีราคาถูกจนผู้ที่น่าสนใจสามารถหาซื้อมาได้ แทบกล่าวได้ว่าบทบาทของเทคโนโลยีารสนเทศจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารได้ประโยชน์อย่างมากต่อวงการธุรกิจ ทำให้ทุกธุรกิจมีการลงทุนขยายขอบเขตการให้บริการโดยใช้ระบบสารสนเทศกันมากขึ้น การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ตมีอัตราการขยายตัวสูงมาก จนกล่าวได้ว่าเป็นอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ ผู้คนบนโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ได้
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในอดีตประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศเกษตรกรรม มีผลผลิตทางด้านการเกษตรเป้นสินค้าหลัก ต่อมามีการเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตเป็นประเทศอุตสาหกรรม
หากพิจารณาการใช้งานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารทั่วไปของโลก ปัจจุบันมูลค่าของสินค้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว สิ่งที่หน้าสนใจคือพัฒนาแล้ว10ประเทศได้แก่สหรัฐอเมริกา สิงค์โปร ฟินแลนด์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ไอซ์แลนด์
สวีแดน แคนนาดา และสวิตเซอร์แลนด์
ถ้าพิจารณาบริษัทผู้ผลิตสินค้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศพบว่า ประเทศผู้ผลิตเพื่อส่งออกมีเพียงแค่ไม่กี่ประเทศทั่วโลก
ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และเครื่องมือสื่อสาร ทำให้อุปกรณ์ต่างๆมีขนาดเล็กลงแต่มีความสามรเพิ่มขึ้น และมีราคาถูกจนผู้ที่น่าสนใจสามารถหาซื้อมาได้ แทบกล่าวได้ว่าบทบาทของเทคโนโลยีารสนเทศจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารได้ประโยชน์อย่างมากต่อวงการธุรกิจ ทำให้ทุกธุรกิจมีการลงทุนขยายขอบเขตการให้บริการโดยใช้ระบบสารสนเทศกันมากขึ้น การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ตมีอัตราการขยายตัวสูงมาก จนกล่าวได้ว่าเป็นอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ ผู้คนบนโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ได้
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากการบริหารงานในองค์การมีหลายระดับ กิจกรรมขององค์การแต่ละประเภทจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละองค์การอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป
ซึ่งระบบสารสนเทศสามารถจัดแบ่งประเภทได้หลายวิธี ในที่นี้ขอกล่าวถึงประเภทของระบบสารสนเทศที่สำคัญ3 ประเภทดังนี้
1.ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริห่รระดับต่างๆ
2.การจำแนกคามหน้าที่ขององค์การ
3.การจำแนกการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือบริหารระดับต่างๆแบ่งประเภทของสารสนเทศไว้ ดังนี้
1.ระบบประมวณผลรายการ เป็นระบบที่ทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจำ ทำการบันทึกจัดเก็บ ประมวณรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานแทนการทำงานด้วยมือ
2.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอกหรือหน่วยงานอื่น
3.ระบบสร้างความรู้ เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ทำงานด้านการความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
4.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชองกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทำหน้าที่กำหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ
ระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น3ระบบดังนี้
1.ระบบสารสรเทศประมวณผลรายการ
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ซึ่งระบบสารสนเทศสามารถจัดแบ่งประเภทได้หลายวิธี ในที่นี้ขอกล่าวถึงประเภทของระบบสารสนเทศที่สำคัญ3 ประเภทดังนี้
1.ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริห่รระดับต่างๆ
2.การจำแนกคามหน้าที่ขององค์การ
3.การจำแนกการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานหรือบริหารระดับต่างๆแบ่งประเภทของสารสนเทศไว้ ดังนี้
1.ระบบประมวณผลรายการ เป็นระบบที่ทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจำ ทำการบันทึกจัดเก็บ ประมวณรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานแทนการทำงานด้วยมือ
2.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอกหรือหน่วยงานอื่น
3.ระบบสร้างความรู้ เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ทำงานด้านการความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
4.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชองกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทำหน้าที่กำหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ
ระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น3ระบบดังนี้
1.ระบบสารสรเทศประมวณผลรายการ
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยหลักการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สัญญาณทางไฟฟ้าแทนตัวเลขศูนย์และหนึ่ง ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสอง แต่ละหลังเรียกว่า บิต และเมื่อนำตัวเลขหลายๆ บิตมาเรียงกัน จะใช้รหัสแทนจำนวนอักขระหรือสัญลักษณ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
รหัสแอสกี การกำหนดรหัสแทนข้อมูลขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลและคอมพิวเตอร์รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระที่เป็นมาตรฐาน
รหัสเอบซีดิก เป็นการกำหนดรหัสแทนตัวอักขระที่ใช้กันแพร่หลายอีกแบบหนึ่ง การกำหนดรหัสจะใช้8บิตหรือ1ไบต์ต่อ1อักขระ
รหัสแอสกี การกำหนดรหัสแทนข้อมูลขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลและคอมพิวเตอร์รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระที่เป็นมาตรฐาน
รหัสเอบซีดิก เป็นการกำหนดรหัสแทนตัวอักขระที่ใช้กันแพร่หลายอีกแบบหนึ่ง การกำหนดรหัสจะใช้8บิตหรือ1ไบต์ต่อ1อักขระ
วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร กระบวนงาน และโทรคมนาคมซึ่งถูกกำหนดขึ้นเพื่อทำการรวบรวม จัดการ จัดเก็บและประมวณผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศดังนี้
1.ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ทางกายภาพซึ่งก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยงานประมวณผลต่างๆ
2.ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วยกลุ่มของโปรแกรมที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกับฮาร์ดแวร์และใช้ในการประมวณผลข้อมูลเป็นสารสนเทศ
3.ข้อมูล ในส่วนนี้หมายถึง ข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกเก็บอยู่ในฐานข้อมูล โดยฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลและสารสนเทศที่มีความเกี่ยวข้องกัน
4.บุคลากร หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้ จนถึงผู้อำนวยการคอมพิวเตอร์
5.กระบวนงาน หมายถึง กลุ่มของคำสั่งหรือกฎหมายที่แนะนำวิธีการปฎิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ
6.การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เพื่อติดต่อสื่อสารและช่วยให้องค์กรสามารถเชื่อมระบบคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครอข่าย
1.ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ทางกายภาพซึ่งก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยงานประมวณผลต่างๆ
2.ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วยกลุ่มของโปรแกรมที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกับฮาร์ดแวร์และใช้ในการประมวณผลข้อมูลเป็นสารสนเทศ
3.ข้อมูล ในส่วนนี้หมายถึง ข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกเก็บอยู่ในฐานข้อมูล โดยฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลและสารสนเทศที่มีความเกี่ยวข้องกัน
4.บุคลากร หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้ จนถึงผู้อำนวยการคอมพิวเตอร์
5.กระบวนงาน หมายถึง กลุ่มของคำสั่งหรือกฎหมายที่แนะนำวิธีการปฎิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ
6.การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เพื่อติดต่อสื่อสารและช่วยให้องค์กรสามารถเชื่อมระบบคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครอข่าย
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ดำเนินการจัดการข้อมูลข่าวสารในองค์กรให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างเป็นระบบระเบียบ โดยมีกรือไม่มีคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องก็ได้ แต่ในที่นี้จะหมายถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ได้มาเพื่อสารสนเทศเพื่อนำไปประกอบการตัดสินใจในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้องที่สุด ดังนั้นระบบสารสนเทศในที่นี้จึงประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ผู้ใช้ กระบวนการ และตัวข้อมูลหรือสารสนเทศโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสามารถตรวจสอบและประเมินผลระบบได้
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
การทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยขน์ต่อการใช้งาน จำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดำเนินการ เริ่มตัั่งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดำเนินการประมวณผล ข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบร่วมข้อมูลซึ่งมีจำนวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา
2.การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้
2.การดำเนินการประมวณผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ ประกอบด้วยกิจการดังต่อไปนี้
1.การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการเก็บการแยกกลุ่มเพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน
2.การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ้งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลำดับตัวเลข หรืออักษร
3.การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
4.การคำนวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได
3.การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย
1.การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาบันทึกเก็บรักษาไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ
2.การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียนใช้งานได้ต่อไป
3.การทำสำเนาข้อมูล การทำสำเนาเพื่อที่จะนำข้อมูลเก็บรักษาไว้
4.การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่งไกลได้ง่าย
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบร่วมข้อมูลซึ่งมีจำนวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา
2.การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้
2.การดำเนินการประมวณผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ ประกอบด้วยกิจการดังต่อไปนี้
1.การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการเก็บการแยกกลุ่มเพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน
2.การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ้งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลำดับตัวเลข หรืออักษร
3.การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
4.การคำนวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได
3.การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย
1.การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาบันทึกเก็บรักษาไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ
2.การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียนใช้งานได้ต่อไป
3.การทำสำเนาข้อมูล การทำสำเนาเพื่อที่จะนำข้อมูลเก็บรักษาไว้
4.การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่งไกลได้ง่าย
วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
สารสนเทศ
สารสนเทศหมายถึง ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เพราะได้ผ่านการประมวณผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลลลัพธ์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
1.ความถูกต้องแม่นยำ พิจารณาได้จากอัตราส่วนของสารสนเทศที่ถูกต้องกับจำนวนสารสนเทศที่ผลิตขึ้นมาทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง
2.ความทันต่อการใช้งาน พิจารณาจากสถานการณ์ เงื่อนไขเวลา ที่จำเป็นต้แงใช้ข้อสนเทศกับข้อสนเทศที่ได้ มิได้หมายถึงความรวดเร็วในการเก็บข้อมูล
3.ความสมบูรณ์และกะทัดรัด พิจารณาจากการรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงที่กระจัดกระจายให้ได้ปริมาณมากพอ ครอบคลุมประเด็นที่ต้องใช้ประโยชน์ในเรื่องนั้นๆ
4.สอดคล้องต่อความต้องการ พิจารณาจากความต้องการในการรับรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสารสนเทศที่จำเป็นต่อภารกิจ
5.เข้าใจง่าย สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องเข้าใจง่าย ไม่ซ้ำซ้อนต่อความเข้าใจ
6.เชื่อถือได้ สารสนเทศที่เชื่อถือได้ วิธีการรวบรวมข้อมูลต้องมีความหน้าเชื่อถือ
7.คุ้มราคา สารสนเทศที่ผลิตควรจะต้องมีความประหยัด เหมาะสมคุ้มค่ากับราคา
8.ตรวจสอบได้ สารสนเทศจะต้องสวดสอบความถูกต้องได้
9.สะดวกในการเข้าถึง สารสนเทศจะต้องง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลตามระดับ
10.ปลอดภัย สารสนเทศจะต้องถูกออกแบบและจัดการให้มีความปลอดภัย
1.ความถูกต้องแม่นยำ พิจารณาได้จากอัตราส่วนของสารสนเทศที่ถูกต้องกับจำนวนสารสนเทศที่ผลิตขึ้นมาทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง
2.ความทันต่อการใช้งาน พิจารณาจากสถานการณ์ เงื่อนไขเวลา ที่จำเป็นต้แงใช้ข้อสนเทศกับข้อสนเทศที่ได้ มิได้หมายถึงความรวดเร็วในการเก็บข้อมูล
3.ความสมบูรณ์และกะทัดรัด พิจารณาจากการรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงที่กระจัดกระจายให้ได้ปริมาณมากพอ ครอบคลุมประเด็นที่ต้องใช้ประโยชน์ในเรื่องนั้นๆ
4.สอดคล้องต่อความต้องการ พิจารณาจากความต้องการในการรับรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสารสนเทศที่จำเป็นต่อภารกิจ
5.เข้าใจง่าย สารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องเข้าใจง่าย ไม่ซ้ำซ้อนต่อความเข้าใจ
6.เชื่อถือได้ สารสนเทศที่เชื่อถือได้ วิธีการรวบรวมข้อมูลต้องมีความหน้าเชื่อถือ
7.คุ้มราคา สารสนเทศที่ผลิตควรจะต้องมีความประหยัด เหมาะสมคุ้มค่ากับราคา
8.ตรวจสอบได้ สารสนเทศจะต้องสวดสอบความถูกต้องได้
9.สะดวกในการเข้าถึง สารสนเทศจะต้องง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลตามระดับ
10.ปลอดภัย สารสนเทศจะต้องถูกออกแบบและจัดการให้มีความปลอดภัย
วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจนิงหรือรายละเอียดของสิ่งที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็นตน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตูการณ์ต่างๆ ซึ่งข้อเท็จจริงเหล่านี้อาจอยู่ในรูปต่างๆ เช่น ตัวเลข ข้อความ ภาพ เสียง และวีดีทัศน์ ดังนั้น การเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่สนใจนั้นเอง ข้อมูลจึงหมายถึง ตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งที่สนใจ
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1.ความถูกต้องแม่นยำ หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้ตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้
2.มีความเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้มีการตอยสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตูการณ์หรือความต้องการมีการออกแบบการเรียกค้น และรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
3.ความสมบูรณ์ครอบถ้วน ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฎิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4.ความกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัด
5.ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญดังนั้น จึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1.ความถูกต้องแม่นยำ หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้ตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้
2.มีความเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้มีการตอยสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตูการณ์หรือความต้องการมีการออกแบบการเรียกค้น และรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
3.ความสมบูรณ์ครอบถ้วน ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฎิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4.ความกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัด
5.ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญดังนั้น จึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร
วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ
การกำเนินของคอมพิวเตอร์เมื่อประมาณ 50 กว่าปีที่แล้ว นับเป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วงแรกมีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องคำนวณ ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สำคัญสำหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงแต่ประสิทธิภาพสูงขึ้น ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวดังนี้
1.การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช่ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มรการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภาวยในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องซักผ้า ใช่ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
2.เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่งทุกหนแห่งแม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้มีการใช่ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
3.สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา
4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาตฺหลายยอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามสภาพข้อมูลสภาพอากาศ
5.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมรการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล่วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน
6.การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก และให้ราคาถูกลง เพื่อได้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น
1.การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช่ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มรการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกภาวยในบ้าน เช่น ใช้ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องซักผ้า ใช่ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
2.เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดการกระจายไปทั่งทุกหนแห่งแม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้มีการใช่ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
3.สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา
4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาตฺหลายยอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามสภาพข้อมูลสภาพอากาศ
5.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมรการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล่วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน
6.การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก และให้ราคาถูกลง เพื่อได้ซื้อสินค้าได้สะดวกขึ้น
ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยัสารสนเทศ
พื้นฐานของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าได้แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมในสมัยใหม่อยู่มาก ลักษณะเด่นที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศมี ดังนี้
1.เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ในการประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการอุตสาหกรรรม จำเป็นต้องหาวิธีในการเพิ่มผลผลิตลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเข้ามาช่วยทำให้เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครื่องเอที่เอ็มได้ตลอดเวลา
2.เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย เมื่อมีการพัฒนาระบบข้อมูลและการใช้ข้อมูลได้ดี การบริการต่างๆจึงเน้นรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้สามารถ สั่งซื้อสินค้าจากที่บ้าน สามารถสอบถามข้อมูลผ่านทางโทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยสามารถใช้คองพิวเตอร์สอบถามผลสอบจากที่บ้านได้
3. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินในหน่วยงานต่างๆ ปัจจุบันทุกหน่วยงานต่างพัฒนาระบบรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในองค์การ ประเทศไทยมีระบบทะเบียนราษฎที่จัดทำทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษาษี ในองค์การทุกระดับเห็นความสำคัญที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
4.เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสสนเทศทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จากการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์การใช้ตารางคำนวณ และใช้อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมแบบต่างๆเป็นต้น
1.เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ในการประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการอุตสาหกรรรม จำเป็นต้องหาวิธีในการเพิ่มผลผลิตลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเข้ามาช่วยทำให้เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครื่องเอที่เอ็มได้ตลอดเวลา
2.เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย เมื่อมีการพัฒนาระบบข้อมูลและการใช้ข้อมูลได้ดี การบริการต่างๆจึงเน้นรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้สามารถ สั่งซื้อสินค้าจากที่บ้าน สามารถสอบถามข้อมูลผ่านทางโทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยสามารถใช้คองพิวเตอร์สอบถามผลสอบจากที่บ้านได้
3. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินในหน่วยงานต่างๆ ปัจจุบันทุกหน่วยงานต่างพัฒนาระบบรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในองค์การ ประเทศไทยมีระบบทะเบียนราษฎที่จัดทำทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษาษี ในองค์การทุกระดับเห็นความสำคัญที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
4.เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสสนเทศทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จากการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์การใช้ตารางคำนวณ และใช้อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมแบบต่างๆเป็นต้น
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศกำลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันอย่างมาก สังเกตได้จากการนำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ในสำนักงาน การใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เพื่อการคำนวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไปทั่วทุกแห่ง นอกจากนี้ยังมีผลต่อการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศพึ่งเกิดขึ้นได้ไม่นาน เมื่อราว พ.ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลาย จะมีเพียงการใช้โทรศัพท์
การดำเนินชีวิตในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเป็ยอย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทเพิ่มขึ้น พ.ศ. 2528 กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้มีการเรียนคอมพิวเตอร์จากเดิมเป็นวิชาเลือก แต่ในปัจจุบันกำหนดให้นักเรียนทุกคนต้องเรียน เพื่อให้เยาวชนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนำไปประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศมากที่สุด คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งมีวิวัฒนาการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ดังนี้
ยุคที่1 การประมวณผลข้อมูล ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการคำนวณและการประมวญผลข้อมูลของงานประจำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
ยุคที่2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจดำเนินการ ควบคุม ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผูบริหารระดับต่างๆ
ยุคที่3 การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเน้นถึงการใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
ยุคที่4 เทคโนโลยีสารสนเทศหรือยุคไอที ความเจริญของเทคโนโลยีมีสูงมาก มีการขยายขอบเขตการประมวณผลข้อมูลไปสู่การสร้างและการผลิตสาระสนเทศทำให้สามารถสร้างทางเลือกและรูปแบบใหม่ของสินค้าและบริการ
การดำเนินชีวิตในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเป็ยอย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทเพิ่มขึ้น พ.ศ. 2528 กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้มีการเรียนคอมพิวเตอร์จากเดิมเป็นวิชาเลือก แต่ในปัจจุบันกำหนดให้นักเรียนทุกคนต้องเรียน เพื่อให้เยาวชนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนำไปประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศมากที่สุด คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งมีวิวัฒนาการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ดังนี้
ยุคที่1 การประมวณผลข้อมูล ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการคำนวณและการประมวญผลข้อมูลของงานประจำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
ยุคที่2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจดำเนินการ ควบคุม ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผูบริหารระดับต่างๆ
ยุคที่3 การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเน้นถึงการใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
ยุคที่4 เทคโนโลยีสารสนเทศหรือยุคไอที ความเจริญของเทคโนโลยีมีสูงมาก มีการขยายขอบเขตการประมวณผลข้อมูลไปสู่การสร้างและการผลิตสาระสนเทศทำให้สามารถสร้างทางเลือกและรูปแบบใหม่ของสินค้าและบริการ
วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ก็เพื่อให้เข้าใจะรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่างๆ และหาทางนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นคำที่มีความหมายกว้าง เป็นคำที่เาได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั่งแต่เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ เป็นจำนวนมาก ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสมกันมาเป็นเวลานาน ดังนั้นจะเห็นได้ชัดว่าความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆทุกวันนี้มีขจ้อมูลรอบตัวมาก หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารหรือยุคของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรียกอีกชื่อว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพราะประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สำคัน2สาขาคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ทั้งสองมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน ดังนี้
1.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาสารสนเทศจะใช้สำหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2.เทคโนโลยีโทรคมนาคม คือเทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารทางไกลหรือโทรคมนาคม เช่น โทรศัพ์ โทรเลข โทรสาร เทเลกซ์ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง การสื่อสารดาวเทียม เทคโนโลยีใยแก้วนำแสง และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกลจะช่วยในการถ่ายทอดและการสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ในที่ต่างๆ
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั่งแต่เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ เป็นจำนวนมาก ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสมกันมาเป็นเวลานาน ดังนั้นจะเห็นได้ชัดว่าความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่างๆทุกวันนี้มีขจ้อมูลรอบตัวมาก หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารหรือยุคของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรียกอีกชื่อว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพราะประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สำคัน2สาขาคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ทั้งสองมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน ดังนี้
1.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาสารสนเทศจะใช้สำหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2.เทคโนโลยีโทรคมนาคม คือเทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารทางไกลหรือโทรคมนาคม เช่น โทรศัพ์ โทรเลข โทรสาร เทเลกซ์ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง การสื่อสารดาวเทียม เทคโนโลยีใยแก้วนำแสง และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกลจะช่วยในการถ่ายทอดและการสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ในที่ต่างๆ
วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันนี้จะมีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องตลอดเวลาตั่งแต่ตื่นนอน
การอาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน ต้องใช่สบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ซึ่งมีหลายยยีห้อให้เลือกใช้
การเดินเดินทางไปทำงานต้องอาศัยรถยนต์ รถจักยานยนต์ รถจักยาน เรียนหนังสือ ต้องใช่ดินสอปากกา หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นต้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างกว้างขวางในทุกวงการ เป็นเครื่องมือสำคัญในการทำงานทุกด้าน นับตั้งแต่งานทางด้านการศึกษา พาณิชยกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม สารธาณสุข การวิจัยและพัฒนาตลอดจนด้านการศึกษาราชการ
เมื่อเทคโนโลยีได้เข้ามาช่วยในการพิมพ์ ทำให้การสื่อสารด้วยข้อความและภาษาเพิ่มมากขึ้นเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนสามารถสื่อสารกันโดยการส่งข้อความเสียงทางสายโทรศัพท์ได้ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว
การอาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน ต้องใช่สบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ซึ่งมีหลายยยีห้อให้เลือกใช้
การเดินเดินทางไปทำงานต้องอาศัยรถยนต์ รถจักยานยนต์ รถจักยาน เรียนหนังสือ ต้องใช่ดินสอปากกา หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นต้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างกว้างขวางในทุกวงการ เป็นเครื่องมือสำคัญในการทำงานทุกด้าน นับตั้งแต่งานทางด้านการศึกษา พาณิชยกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม สารธาณสุข การวิจัยและพัฒนาตลอดจนด้านการศึกษาราชการ
เมื่อเทคโนโลยีได้เข้ามาช่วยในการพิมพ์ ทำให้การสื่อสารด้วยข้อความและภาษาเพิ่มมากขึ้นเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนสามารถสื่อสารกันโดยการส่งข้อความเสียงทางสายโทรศัพท์ได้ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)